Home > พิพิธภัณฑ์ธรณีวิทยา > ศูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูเวียง จังหวัดขอนแก่น
ศูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูเวียง จังหวัดขอนแก่น
ศูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ มีการจัดพื้นที่ดำเนินงานประกอบด้วย ส่วนนิทรรศการและการจัดแสดง ส่วนสำรวจและวิจัย ส่วนอนุรักษ์ ส่วนคลังตัวอย่าง นอกจากนี้ยังมีห้องประชุมขนาด 140 ที่นั่ง โรงอาหาร ร้านค้าสวัสดิการ ร้านขายของที่ระลึก ศูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านธรณีวิทยา ธรรมชาติวิทยาและซากดึกดำบรรพ์ มีการจัดกิจกรรมร่วมกับสถานศึกษาต่างๆ และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยโดยตลอด
เป็นเรื่องเกี่ยวกับกำเนิดจักรวาล วัฏจักรการเกิดและสลายของหิน กำเนิดสิ่งมีชีวิต ซากดึกดำบรรพ์ในมหายุคพาลีโอโซอิก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสัตว์ที่กำเนิดในทะเลจนถึงยุคไดโนเสาร์ ที่มีตั้งแต่กำเนิดไดโนเสาร์ วิวัฒนาการของไดโนเสาร์ และการสูญพันธุ์ของไดโนเสาร์ ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อ 65 ล้านปีก่อน โดยมีหลักฐานสำคัญคือ การพุ่งชนของอุกกาบาตลูกใหญ่ที่บริเวณประเทศเม็กซิโกในปัจจุบัน ที่มีความแรงระเบิดมากกว่าระเบิดไฮโดรเจนเป็นล้าน ๆ เท่าจนทำให้เกิดภัยพิบัติรุนแรงจนสิ่งมีชีวิตในโลกขณะนั้นสูญพันธุ์เป็นจำนวนมาก รวมทั้งเป็นการสิ้นสุดยุคไดโนเสาร์
นำเสนอซากดึกดำบรรพ์ไดโนเสาร์ชิ้นแรกในประเทศไทย และไดโนเสาร์ที่พบในประเทศไทย โดยเฉพาะที่พบในแหล่งขุดค้นภูเวียงนั้นมีถึง 5 สายพันธุ์ ในโซนนี้ยังมีเรื่องราวของธรณีวิทยาเทือกเขาภูเวียงและประวัติการค้นพบ อันเนื่องจากเทือกเขาภูเวียงมีลักษณะแอ่งกระทะ เป็นแหล่งรวมซากดึกดำบรรพ์เก่าแก่จำนวนมาก สันนิษฐานว่าเป็นแหล่งอาศัยของสัตว์ดึกดำบรรพ์ในยุคโลกล้านปี โดยจะมีแผนผังการขุดค้นพบขนาดใหญ่ที่บรรจุหลุมขุดค้นทั้ง 9 หลุม พร้อมตัวอย่างซากดึกดำบรรพ์ที่ขุดค้นได้ ถัดมาจะเป็นซากดึกดำบรรพ์ในมหายุคมีโซโซอิก มีช่วงอายุตั้งแต่ 251 – 65 ล้านปีมาแล้ว ซึ่งอาจพูดว่าเป็นมหายุคที่สัตว์เลื้อยคลานครองโลกก็ได้
ชมห้องปฏิบัติการของนักธรณีวิทยาผ่านกระจกใส และใกล้ ๆ กัน ก็จะเป็นมุมที่รวบรวมซากดึกดำบรรพ์ที่ขุดพบในจังหวัดขอนแก่น
โซนนี้จะตกแต่งเป็นสวนป่ายุคดึกดำบรรพ์ที่มีหุ่นไดโนเสาร์ขนาดเท่าตัวจริง แต่งเดิมด้วยแสงและเสียงร้องของไดโนเสาร์ เข้าบรรยากาศโลกยุคไดโนเสาร์
เป็นเรื่องราวในยุคเทอร์เชียรี ที่นำเสนอหินและแร่ในประเทศไทย อุปกรณ์สำรวจทางธรณีวิทยา ปิโตรเลียมและธรณีพิบัติภัย ซึ่งเป็นภารกิจหนึ่งของกรมทรัพยากรธรณี ในการให้ความรู้และเฝ้าระวังและเตือนภัยในเรื่องของธรณีพิบัติภัยทุกประเภท
ห้องเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งจะทำให้ได้ซาบซึ้งในพระราชกรณียกิจ ของพระองค์ท่านด้านธรณีวิทยา เห็นได้ว่าท่านทรงสนพระทัย ในทุกภารกิจของบ้านเมืองโดยเฉพาะอย่างยิ่งงานทางด้านวิชาการทุกแขนง
ซากดึกดำบรรพ์ไดโนเสาร์ชิ้นแรกของไทยพบที่อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ในปี 2519 โดยนายสุธรรม แย้มนิยม อดีตนักธรณีวิทยาของกรมทรัพยากรธรณี ขณะสำรวจแร่ยูเรเนียม ในหมวดหินเสาขัว ที่อุทยานแห่งชาติภูเวียง บริเวณห้วยประตูตีหมา กระดูกชิ้นนี้มีความกว้างยาวประมาณ 1 ฟุต จากการเปรียบเทียบพบว่ามีลักษณะใกล้เคียงกับไดโนเสาร์ซอโรพอดซึ่งมีขนาดใหญ่ ยาวประมาณ 15 เมตร และจากการตรวจสอบพบว่าเป็นส่วนปลายล่างสุดของกระดูกต้นขาของไดโนเสาร์จำพวกกินพืช
การสำรวจไดโนเสาร์ที่ภูเวียงได้เริ่มต้นอย่างจริงจังในปี 2524 โดยนายเชิงชาย ไกรคง นักธรณีวิทยาจากกรมทรัพยากรธรณี ได้พาคณะสำรวจโบราณชีววิทยาไทยและฝรั่งเศสขึ้นไปสำรวจกระดูกไดโนเสาร์ บริเวณยอดห้วยประตูตีหมา อำเภอภูเวียง คณะสำรวจพบกระดูกไดโนเสาร์กินพืชขนาดใหญ่ รวมทั้งฟันจระเข้ กระดองเต่า ฟันและเกล็ดปลาโบราณ และจากการสำรวจในเวลาต่อมาได้พบกระดูกไดโนเสาร์อีกหลายชนิด ศูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูเวียงจึงถูกจัดตั้งขึ้น โดยความร่วมมือของกรมทรัพยากรธรณี การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และจังหวัดขอนแก่น เพื่อเป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าวิจัยซากดึกดำบรรพ์อย่างเป็นระบบของนักธรณีวิทยา ทั้งเป็นแหล่งเรียนรู้แก่เยาวชนและผู้สนใจ
สถานที่ตั้ง
ศูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ ตำบลในเมือง อำเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น 40150
โทรศัพท์
0 4343 8204, 0 4343 8206 (คู่สายขัดข้อง อยู่ระหว่างดำเนินการแก้ไข)
โทรสาร
0 4343 8204
พิกัด
16.679074 N, 102.267133 E
เว็บไซต์
ค่าบริการ
คนไทย ผู้ใหญ่ 20 บาท เด็ก 10 บาท
คนต่างชาติ ผู้ใหญ่ 60 บาท เด็ก 30 บาท
เวลาทำการ
การเดินทาง
รถโดยสารประจำทางสาย 8,44,67,92,97,ปอ.44,ปอ.157,ปอ.509,ปอ.538
สถานีรถไฟฟ้าที่ใกล้ที่สุด สถานีรถไฟฟ้าอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ และพญาไท
แผนที่เส้นทาง
กรมทรัพยากรธรณี
We firmly believe that the internet should be available and accessible to anyone, and are committed to providing a website that is accessible to the widest possible audience, regardless of circumstance and ability.
To fulfill this, we aim to adhere as strictly as possible to the World Wide Web Consortium’s (W3C) Web Content Accessibility Guidelines 2.1 (WCAG 2.1) at the AA level. These guidelines explain how to make web content accessible to people with a wide array of disabilities. Complying with those guidelines helps us ensure that the website is accessible to all people: blind people, people with motor impairments, visual impairment, cognitive disabilities, and more.
This website utilizes various technologies that are meant to make it as accessible as possible at all times. We utilize an accessibility interface that allows persons with specific disabilities to adjust the website’s UI (user interface) and design it to their personal needs.
Additionally, the website utilizes an AI-based application that runs in the background and optimizes its accessibility level constantly. This application remediates the website’s HTML, adapts Its functionality and behavior for screen-readers used by the blind users, and for keyboard functions used by individuals with motor impairments.
If you’ve found a malfunction or have ideas for improvement, we’ll be happy to hear from you. You can reach out to the website’s operators by using the following email
Our website implements the ARIA attributes (Accessible Rich Internet Applications) technique, alongside various different behavioral changes, to ensure blind users visiting with screen-readers are able to read, comprehend, and enjoy the website’s functions. As soon as a user with a screen-reader enters your site, they immediately receive a prompt to enter the Screen-Reader Profile so they can browse and operate your site effectively. Here’s how our website covers some of the most important screen-reader requirements, alongside console screenshots of code examples:
Screen-reader optimization: we run a background process that learns the website’s components from top to bottom, to ensure ongoing compliance even when updating the website. In this process, we provide screen-readers with meaningful data using the ARIA set of attributes. For example, we provide accurate form labels; descriptions for actionable icons (social media icons, search icons, cart icons, etc.); validation guidance for form inputs; element roles such as buttons, menus, modal dialogues (popups), and others. Additionally, the background process scans all of the website’s images and provides an accurate and meaningful image-object-recognition-based description as an ALT (alternate text) tag for images that are not described. It will also extract texts that are embedded within the image, using an OCR (optical character recognition) technology. To turn on screen-reader adjustments at any time, users need only to press the Alt+1 keyboard combination. Screen-reader users also get automatic announcements to turn the Screen-reader mode on as soon as they enter the website.
These adjustments are compatible with all popular screen readers, including JAWS and NVDA.
Keyboard navigation optimization: The background process also adjusts the website’s HTML, and adds various behaviors using JavaScript code to make the website operable by the keyboard. This includes the ability to navigate the website using the Tab and Shift+Tab keys, operate dropdowns with the arrow keys, close them with Esc, trigger buttons and links using the Enter key, navigate between radio and checkbox elements using the arrow keys, and fill them in with the Spacebar or Enter key.Additionally, keyboard users will find quick-navigation and content-skip menus, available at any time by clicking Alt+1, or as the first elements of the site while navigating with the keyboard. The background process also handles triggered popups by moving the keyboard focus towards them as soon as they appear, and not allow the focus drift outside of it.
Users can also use shortcuts such as “M” (menus), “H” (headings), “F” (forms), “B” (buttons), and “G” (graphics) to jump to specific elements.
We aim to support the widest array of browsers and assistive technologies as possible, so our users can choose the best fitting tools for them, with as few limitations as possible. Therefore, we have worked very hard to be able to support all major systems that comprise over 95% of the user market share including Google Chrome, Mozilla Firefox, Apple Safari, Opera and Microsoft Edge, JAWS and NVDA (screen readers), both for Windows and for MAC users.
Despite our very best efforts to allow anybody to adjust the website to their needs, there may still be pages or sections that are not fully accessible, are in the process of becoming accessible, or are lacking an adequate technological solution to make them accessible. Still, we are continually improving our accessibility, adding, updating and improving its options and features, and developing and adopting new technologies. All this is meant to reach the optimal level of accessibility, following technological advancements. For any assistance, please reach out to