Home > หน่วยงานในสังกัด > สำนักงานเลขานุการกรม
สำนักงานเลขานุการกรม
สำนักงานเลขานุการกรม
มีหน้าที่และอํานาจ ดังนี้
(๑) ดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารงานทั่วไป งานสารบรรณ งานช่วยอํานวยการ และงานเลขานุการของกรม
(๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข้อมูล กิจกรรม ความรู้ ความก้าวหน้า นโยบาย และผลงานของกรม
(๓) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดระบบงานและการบริหารงานบุคคลของกรม
(๔) ดําเนินการเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี การงบประมาณ การพัสดุ อาคารสถานที่ และยานพาหนะของกรม
(๕) ดําเนินการอื่นใดที่มิได้กําหนดให้เป็นหน้าที่และอํานาจของส่วนราชการใดในกรม
(๖) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
สำนักงานเลขานุการกรม
โดยแบ่งหน่วยงานภายในเป็น ๒ ฝ่าย ๖ ส่วน ประกอบด้วย
ฝ่ายสารบรรณ มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ดังนี้
(๑) ดําเนินงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ งานเอกสารของกรม
(๒) ทําหน้าที่ลงทะเบียน ควบคุมทะเบียน รับ-ส่งเอกสารทั้งภายในและภายนอก
(๓) งานแจกจ่ายเอกสาร งานค้นหาเอกสาร ติดตาม จัดเก็บ ทําลายเอกสาร งานรับ-ส่งไปรษณีย์ โทรสาร
(๔) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
ฝ่ายอาคารสถานที่และยานพาหนะ มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ดังนี้
(๑) ตรวจสอบ ดูแล รักษาความสะอาด ซ่อมแซม บํารุงรักษาอาคารสถานที่ สาธารณูปโภค และสภาพแวดล้อมของส่วนราชการ
(๒) ควบคุมการรักษาความปลอดภัย จัดระเบียบการใช้อาคารสถานที่ ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับของทางราชการ
(๓) ควบคุมดูแลการใช้รถยนต์ของทางราชการ ซ่อมแซม บํารุงรักษาการใช้รถยนต์ของทางราชการ และน้ํามันเชื้อเพลิง ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับของทางราชการ
(๔) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
ส่วนช่วยอํานวยการ มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ดังนี้
(๑) ตรวจสอบ กลั่นกรอง สรุปประเด็นสําคัญของเอกสารก่อนที่จะนําเสนอผู้บริหาร
(๒) ทําหน้าที่เลขานุการอธิบดี รองอธิบดี ร่างหนังสือโต้ตอบที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานหน่วยงานอื่น
(๓) งานเตรียมเรื่องและเตรียมการสําหรับการประชุม ดูแลอุปกรณ์การประชุม ติดต่อประสานงาน งานสวัสดิการ งานควบคุมภายในและงานพิธีต่าง ๆ ของกรมทรัพยากรธรณี
(๔) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
ส่วนประชาสัมพันธ์ มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ดังนี้
(๑) ดําเนินงานด้านศูนย์บริการประชาชน การเผยแพร่ภารกิจ เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์องค์กร
(๒) ประมวลกิจกรรม แผน และผลงาน ความรู้ ความก้าวหน้า ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง เพื่อเผยแพร่ แก่หน่วยงานภายในและภายนอก รวมทั้งสื่อมวลชนและสาธารณชน
(๓) ออกแบบและผลิตสื่อประชาสัมพันธ์
(๔) จําหน่ายเอกสารเผยแพร่ แผ่นพับ หนังสือ เอกสารประชาสัมพันธ์ของกรมทรัพยากรธรณี
(๕) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
ส่วนทรัพยากรบุคคล มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ดังนี้
(๑) ดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล การวางแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล การวางแผนอัตรากําลัง โครงสร้าง การกําหนดตําแหน่ง และการจัดระบบงาน
(๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการสรรหา บรรจุ แต่งตั้ง ย้าย โอน ประเมินบุคคลและผลงาน การเลื่อนตําแหน่ง และการออกจากราชการ
(๓) ดําเนินการเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการ การเลื่อนเงินเดือน บําเหน็จความชอบ การจัดสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตบุคลากร
(๔) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดทําและการเก็บรักษาทะเบียนประวัติและฐานข้อมูลทรัพยากรบุคคล
(๕) ดําเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
(๖) ดําเนินการเกี่ยวกับการเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม การรักษาวินัยและจรรยาข้าราชการและการคุ้มครองระบบคุณธรรม
(๗) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
ส่วนการคลัง มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ดังนี้
(๑) ดําเนินงานเกี่ยวกับระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Government Fiscal Management Information System : GEMIS)
(๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการอนุมัติเงินประจํางวด การโอนเปลี่ยนแปลงเพิ่ม/ลดรายการงบประมาณ การขอกันเงินงบประมาณเหลื่อมปี การขยายเวลาเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
(๓) การจัดการเงิน การตรวจสอบ ควบคุมการเบิกจ่ายเงิน การรับ-จ่ายเงิน และการเก็บรักษา เงินทุกประเภทของกรม เงินบําเหน็จบํานาญข้าราชการ
(๔) ควบคุม ตรวจสอบการจัดทําบัญชีส่วนราชการของกรม
(๕) เงินสวัสดิการกรมทรัพยากรธรณี
(๖) ตรวจสอบใบสําคัญขอเบิกเงินเบิกจ่ายเงินกองทุนในระบบ GFMIS และให้คําปรึกษาและสอบทาน การจัดทําบัญชีกองทุน
(๗) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
ส่วนการพัสดุ มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ดังนี้
(๑) ดําเนินการเกี่ยวกับการซื้อ การจ้าง การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงานการจัดหา พัสดุตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ การจัดทําข้อมูลหลักผู้ขาย/ผู้รับจ้าง
(๒) การแลกเปลี่ยน การเช่า การยืม การควบคุม การจําหน่ายพัสดุ ให้คําปรึกษาข้อเสนอการปฏิบัติ เกี่ยวกับการพัสดุ การจัดทํารายงานผลดําเนินการจัดซื้อจัดจ้าง
(๓) การจัดทําสัญญา ใบสั่งซื้อ ใบสั่งจ้าง การบริหารสัญญา การจัดทําทะเบียนบัญชีควบคุมพัสดุ การตรวจสอบจัดทํารายงานพัสดุประจําปี การซ่อมบํารุงรักษาพัสดุ
(๔) ตรวจสอบจัดทําเอกสารสําคัญประกอบการเบิกจ่ายเงิน การบันทึกรายการ PO ในระบบ GFMIS
(๕) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
นางสาวเสาวลักษณ์ ศรีดาแก้ว
นางนนทกร ช้างเนียม
นายภาสวิชญ์ จุลมูล
นายพงษกร กังวาลย์
นางกฤชภา จิรลักข์
นางสาวมยุรี ธรรมานุสาร
นายเอนก ขาวสุวรรณ
ปี 2567
ปี 2566
ปี 2565
ปี 2564
ปี 2563
ปี 2562
หน่วยงาน | เบอร์โทรศัพท์ |
---|---|
สำนักงานเลขานุการกรม | 02-621-9529 |
ส่วนประชาสัมพันธ์ | 02-621-9601 ถึง 5 |
ส่วนทรัพยากรบุคคล | 02-621-9590 ถึง 9 |
ส่วนงานคลัง | 02-621-9570 ถึง 9 |
ส่วนการพัสดุ | 02-621-9580 ถึง 9 |
ฝ่ายช่วยอำนวยการ | 02-621-9538 ถึง 9 |
ฝ่ายสารบรรณ | 02-621-9532 ถึง 5 |
ฝ่ายอาคารสถานที่และยานพาหนะ | 02-621-9787 ถึง 9 |
กรมทรัพยากรธรณี
We firmly believe that the internet should be available and accessible to anyone, and are committed to providing a website that is accessible to the widest possible audience, regardless of circumstance and ability.
To fulfill this, we aim to adhere as strictly as possible to the World Wide Web Consortium’s (W3C) Web Content Accessibility Guidelines 2.1 (WCAG 2.1) at the AA level. These guidelines explain how to make web content accessible to people with a wide array of disabilities. Complying with those guidelines helps us ensure that the website is accessible to all people: blind people, people with motor impairments, visual impairment, cognitive disabilities, and more.
This website utilizes various technologies that are meant to make it as accessible as possible at all times. We utilize an accessibility interface that allows persons with specific disabilities to adjust the website’s UI (user interface) and design it to their personal needs.
Additionally, the website utilizes an AI-based application that runs in the background and optimizes its accessibility level constantly. This application remediates the website’s HTML, adapts Its functionality and behavior for screen-readers used by the blind users, and for keyboard functions used by individuals with motor impairments.
If you’ve found a malfunction or have ideas for improvement, we’ll be happy to hear from you. You can reach out to the website’s operators by using the following email
Our website implements the ARIA attributes (Accessible Rich Internet Applications) technique, alongside various different behavioral changes, to ensure blind users visiting with screen-readers are able to read, comprehend, and enjoy the website’s functions. As soon as a user with a screen-reader enters your site, they immediately receive a prompt to enter the Screen-Reader Profile so they can browse and operate your site effectively. Here’s how our website covers some of the most important screen-reader requirements, alongside console screenshots of code examples:
Screen-reader optimization: we run a background process that learns the website’s components from top to bottom, to ensure ongoing compliance even when updating the website. In this process, we provide screen-readers with meaningful data using the ARIA set of attributes. For example, we provide accurate form labels; descriptions for actionable icons (social media icons, search icons, cart icons, etc.); validation guidance for form inputs; element roles such as buttons, menus, modal dialogues (popups), and others. Additionally, the background process scans all of the website’s images and provides an accurate and meaningful image-object-recognition-based description as an ALT (alternate text) tag for images that are not described. It will also extract texts that are embedded within the image, using an OCR (optical character recognition) technology. To turn on screen-reader adjustments at any time, users need only to press the Alt+1 keyboard combination. Screen-reader users also get automatic announcements to turn the Screen-reader mode on as soon as they enter the website.
These adjustments are compatible with all popular screen readers, including JAWS and NVDA.
Keyboard navigation optimization: The background process also adjusts the website’s HTML, and adds various behaviors using JavaScript code to make the website operable by the keyboard. This includes the ability to navigate the website using the Tab and Shift+Tab keys, operate dropdowns with the arrow keys, close them with Esc, trigger buttons and links using the Enter key, navigate between radio and checkbox elements using the arrow keys, and fill them in with the Spacebar or Enter key.Additionally, keyboard users will find quick-navigation and content-skip menus, available at any time by clicking Alt+1, or as the first elements of the site while navigating with the keyboard. The background process also handles triggered popups by moving the keyboard focus towards them as soon as they appear, and not allow the focus drift outside of it.
Users can also use shortcuts such as “M” (menus), “H” (headings), “F” (forms), “B” (buttons), and “G” (graphics) to jump to specific elements.
We aim to support the widest array of browsers and assistive technologies as possible, so our users can choose the best fitting tools for them, with as few limitations as possible. Therefore, we have worked very hard to be able to support all major systems that comprise over 95% of the user market share including Google Chrome, Mozilla Firefox, Apple Safari, Opera and Microsoft Edge, JAWS and NVDA (screen readers), both for Windows and for MAC users.
Despite our very best efforts to allow anybody to adjust the website to their needs, there may still be pages or sections that are not fully accessible, are in the process of becoming accessible, or are lacking an adequate technological solution to make them accessible. Still, we are continually improving our accessibility, adding, updating and improving its options and features, and developing and adopting new technologies. All this is meant to reach the optimal level of accessibility, following technological advancements. For any assistance, please reach out to